ชะงักทั้งขบวน หญิงดึงคันโยกฉุกเฉิน หลังขึ้นรถไฟฟ้าผิด “BTS” ย้ำห้ามดึง

 

บีทีเอส (BTS)BTS เส้นทาง  bts ค่าโดยสาร  บีทีเอส สถานี bts  สายสีเขียวบีทีเอสปิดกี่โมงรถไฟฟ้า BTS BTS หมอชิต รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

บีทีเอส (BTS) ย้ำผู้โดยสาร ห้ามดึงคันโยกฉุกเฉิน หลังมีเหตุ หญิงดึงเพราะขึ้นรถไฟฟ้าผิด ทำให้ชะงักทั้งขบวน แนะกดปุ่ม PCU สื่อสารกับพนักงานห้องควบคุม หากมีเหตุฉุกเฉินจริงๆ หรือคนเป็นลม

BTS เส้นทาง จากกรณีผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่ง แชร์ข้อความ ระบุอ้างว่าเก็บค่าbts ค่าโดยสาร   มีป้าคนหนึ่ง ดึงคันโยกฉุกเฉินบนรถไฟฟ้า บีทีเอส สถานี 3-4 ครั้ง เพราะขึ้นผิดขบวน พอประตูเปิดออกก็วิ่งออกไปทันที ทำให้ชะงักกันไปหมด ซึ่งเรื่องดังกล่าว ทำให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์เป็นจำนวนมาก  เพจรถไฟฟ้าบีเอส  ก็โพสต์ข้อความย้ำว่า หากขึ้นรถไฟฟ้าผิดฝั่งให้ลงสถานีถัดที่สถานนีรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทไปเพื่อเปลี่ยนเส้นทางได้ แต่งดดึงคันโยกฉุกเฉินคนดังกล่าวเพราะพฤติกรรมที่แสดงออกสะท้อนถึงอาจจะไม่รู้ หรือไม่เข้าใจซึ่งแตกต่างจากพวกจงใจ ทั้งนี้ จึงอยากเชิญชวนผู้โดยสารที่อาจพบเหตุการณ์ฉุกเฉินให้กดปุ่มรูปกระดิ่งแทน

ต่อมา bts สายสีเขียวรถไฟฟ้าบีทีเอส ได้โพสต์ข้อความ ถึงกรณีดังกล่าว ว่าขึ้นขบวนรถไฟฟ้าผิดฝั่งไม่เป็นไร ลงสถานีถัดไปเปลี่ยนเส้นทางได้ แต่งดดึงคันโยกฉุกเฉิน 

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้า BTS

ข่าวแนะนำเนื่องจากคันโยกฉุกเฉิน (PER – Passenger Emergency Release พี อี อาร์) ใช้ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน รถไฟฟ้า BTS ไม่ต้องการให้รถเคลื่อนที่ไปข้างหน้า หรือต้องการเปิดประตูเมื่อมีเหตุฉุกเฉินเท่านั้น

 

การดึงคันโยกฉุกเฉิน (PER) จะไม่ทำให้ขบวนรถหยุดทันที แต่จะหยุดเมื่อถึงสถานีถัดไป และส่งผลให้การเดินรถเกิดความล่าช้า เพราะเจ้าหน้าที่จะต้องรีเซตขบวนรถใหม่

รถไฟฟ้า BTS

บีทีเอส สถานี

แต่ในขรถไฟฟ้า BTSบวนรถจะมีปุ่มกระดิ่ง (PCU – Passenger Communication Unit พี ซี ยู) ที่สามารถกด เพื่อติดต่อพูดคุยกับพนักงานควบคุมรถไฟฟ้าโดยตรง ในการขอความช่วยเหลือ เมื่อพบคนเป็นลม หรือแจ้งเหตุในขบวนรถ 

ทั้งนี้ รถไฟฟ้ารถไฟฟ้า BTSได้เน้นย้ำว่า หากพบเหตุฉุกเฉินในขบวน คนเป็นลม ผู้ป่วย ในขบวนรถ โปรดกดปุ่มกระดิ่งแจ้งเจ้าหน้าที่ และงดดึงคันโยกฉุกเฉิน (PER).

ขอขอบคุณแหล่งข่าว www.thairath.co.th